วันอังคารที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2562

บทที่ 8 ตรวจสอบและทบทวน

ตรวจสอบและทบทวน
ในการเขียนแผนจัดการเรียนรู้ขั้น การประเมินการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ปฏิบัติการเขียนแผนจัดการ เรียนรู้ด้วยการเขียนระดับคุณภาพของผลการเรียนรู้ (rubrics) ซึ่งอาจใช้แนวทางการกําหนดระดับคุณภาพของ สมรรถนะตามแนวคิด SOLO Taxonomy การเรียนรู้อย่างลุ่มลึก ไม่ใช่เรียนแบบผิวเผิน หรือแนวทางอื่น ๆ
      การประเมินอิงมาตรฐานระดับที่มีความสําคัญที่สุดคือ การจัดการเรียนรู้หรือการเรียนการสอนเร็จ โดยดูจากผู้เรียนมีความรู้ และทักษะเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ กล่าวได้ว่าโปรแกรมการเรียนการสอนมีประสิทธิผลระดับใน สอนที่ช่วยให้ผู้เรียนประสบความสําเร็จในการเรียนรู้ได้โดยใช้ทรัพยากรคนประสบความสําเร็จในการเรียนรู้ได้โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จํากัด กล่าวได้ว่าการจัดการ เรียนรู้หรือการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ
     การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพระดับใด การประเมินคุณภาพภายใน เป็นการประเมินให้ สักเที่กระบวนการ(process) การประเมินคุณภาพภายในเป็นการประเมินในระหว่างจัดการเรียนรู้หรือคนมีจดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบปรับปรุงแก้ไขสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้และปรับปรุงสื่อ - การเรียนการสอน ส่วนการประเมินคุณภาพภายนอก เป็นการประเมินที่มุ่งตอบคําถามว่า การสอนประสบความสําเร็จตามแผนที่วางไว้หรือไม่ ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามที่หลักสูตรกําหนด หรือไม่ คําถามหลัก คือ ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานหลังจากการเรียนการสอนได้หรือไม่ กระบวนการมี ขั้นตอนใดที่มีปัญหาอุปสรรค เพื่อนําไปเป็นข้อมูลสําคัญสําหรับผู้บริหารได้พัฒนาในโอกาสต่อไป

S : การประเมินอิงมาตรฐาน (Standard Based Assessment)
เกณฑ์การประเมินใบงาน
ประเด็น
การประเมิน
ระดับคุณภาพ
4 (ดีมาก)
3 (ดี)
2 (ปานกลาง)
1(ปรับปรุง)
1.ความถูกต้อง
ข้อมูลถูกต้อง สมบูรณ์ตรงประเด็น
ข้อมูลถูกต้องตรงประเด็นแต่ขาดรายละเอียด
มีข้อมูลที่ผิดบ้างและยังไม่สมบูรณ์
ข้อมูลส่วนใหญ่ไม่ถูกต้องและขาดหาย
2.การใช้ภาษา
ประโยคสมบูรณ์ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางภาษา สื่อความได้ชัดเจน
เขียนประโยคได้สมบูรณ์แต่ผิดหลักเกณฑ์ทางภาษา สื่อความได้
เขียนประโยคสมบูรณ์บ้างไม่สมบูรณ์บ้าง ผิดหลักเกณฑ์ทางภาษาอย่างมาก สื่อความไม่ชัดเจน
เขียนประโยคผิดหลักเกณฑ์ทางภาษา สื่อความไม่ได้
3.ความเรียบร้อย
มีความสะอาดเรียบร้อยดี อ่านแล้วเข้าใจง่าย
มีรอยขีดข่วน ไม่ค่อยสะอาด อ่านแล้วเข้าใจง่าย
ไม่สะอาด ยับ อ่านแล้วเข้าใจง่าย
ไม่สะอาด ยับ อ่านแล้วไม่เข้าใจ
4.ความคิดวิเคราะห์/ความคิดสร้างสรรค์
คิดแปลกใหม่แตกต่างจากเดิม ดัดแปลงประยุกต์และสามารถนำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
คิดแปลกใหม่แตกต่างจากเดิม ดัดแปลงแต่ไม่สามารถนำไปใช้ได้
คิดแปลกใหม่แตกต่างจากเดิม ไม่มีแนวทางการนำไปใช้
คิดตามแบบหรือลอกเลียนแบบที่มีอยู่แล้ว

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น