วันอังคารที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2562

ประเมินเพื่อปรับปรุงการสอน

ประเมินเพื่อปรับปรุงการสอน

การประเมินผล (evaluation) หมายถึง การตัดสินคุณค่าสิ่ง ต่าง ๆ โดยอาศัยข้อมูลจากการวัดนามาพิจารณาเปรียบเทียบกับ เกณฑ์ ก่อนที่จะสรุปตัดสินผลนั้น ๆ ความหมายของการประเมินผล
- ปรัชญาของการประเมินผลการศึกษา “วัดและประเมินผล เพื่อค้นหาและพัฒนาสมรรถภาพของผู้เรียน”
 -องค์ประกอบสาคัญของการประเมิน 1. ความเที่ยงตรง (Validity) คือ การวัดผลได้ตรงตามเป้ าหมายที่เกี่ยวข้องกับการสอน  ความเชื่อมั่น (Reliability) คือ ผลจากการวัดนั้นมีความคงที่และเชื่อถือได้ 3. ความเป็นปรนัย (Objectivity) คือ การประเมินภาระงานและกระบวนการให้คะแนนซึ่งออกแบบ ลักษณะของการให้คะแนนอยู่บนมาตรฐานเดียวกันสาหรับผู้เรียนทุกคน 4. ความเป็นธรรม (fairness) คือ การวัดที่คะแนนอยู่บนเกณฑ์การประเมินซึ่งมีความคงที่สาหรับ ผู้เรียนทุกคน ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสเท่ากันทุกอย่างในการทดสอบ ครอบคลุมพฤติกรรมทั้ง สาม ด้านคือ ความรู้ ทักษะ และจิตพิสัย
-. จุดมุ่งหมายการประเมิน • กระตุ้น เร้า สร้างแรงจูงใจในการเรียน : ให้เกิดความพร้อม ในการเรียน • ตรวจสอบความรู้พื้นฐานก่อนเรียนในหน่วยใหม่ • วินิจฉัย ปรับปรุงการเรียนการสอน : ประเมินโดยยึดจุดประสงค์ : ระหว่างเรียน • เปรียบเทียบพัฒนาการ ก่อนเรียน – หลังเรียน • จัดตาแหน่ง อันดับความสามารถ ใช้แบ่งกลุ่มผู้เรียน • พยากรณ์ ใช้ผลการประเมินทานาย คาดคะเนความสามารถ ความสาเร็จในอนาคต ใช้ประโยชน์ด้านแนะแนวเลือกสาขาวิชา
 -หลักการประเมินผล 1. มีจุดมุ่งหมายชัดเจน 2. เลือกวิธีการและเครื่องมือเหมาะสม 3. ใช้เครื่องมือและวิธีการวัดหลากหลาย 4 ประเมินผลการวัดอย่างถูกต้อง 5. ใช้ผลการประเมินให้คุ้มค่า
- คุณธรรมของผู้ประเมิน 1. มีความยุติธรรม ซื่อสัตย์ทางวิชาการ 2. รักษาความลับทางวิชาการ 3. ใช้เหตุผล ทางานเป็นระบบ ตรวจสอบได้ 4. ใฝ่ รู้ ใฝ่ เรียน ขยันหมั่นเพียร คิดตริตรอง 5. มีวินัยในตนเอง
.- มีน้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ 7. รับผิดชอบในการกระทา มุ่งมั่น 8. มีความเป็นผู้นา กล้าคิด กล้าทา กล้าตัดสินใจ 9. ละเอียดรอบคอบ เป็นนิสัย 10. มีความคิดสร้างสรรค์ ไม่ลอกผลงานผู้อื่น คุณธรรมของผู้ประเมิน (ต่อ)
. -การประเมินผล (Evaluation) การประเมินผล (Evaluation) การตัดสินหรือตีค่า โดยอาศัยเกณฑ์ คุณธรรม ผู้ประเมิน + การประเมินผลการศึกษา (Educational Evaluation) การตัดสิน การตีค่า พฤติกรรมที่เกิด จากการศึกษา คุณภาพ ได้ - ตก ผ่าน - ไม่ผ่าน ดี - ไม่ดี กระบวน การเรียนการสอน ปรับปรุงการเรียนการสอน และพัฒนาผู้เรียน
-กระบวนการประเมินผลการศึกษา กระบวนการทดสอบ เครื่องมือ สถานการณ์ คาถาม ผู้ถูกทดสอบ พฤติกรรม ที่สังเกตได้ เครื่องมือ สิ่งที่ถูกวัด ปริมาณ ตัวเลข หน่วย สิ่งที่ถูก ประเมิน เกณฑ์ คุณภาพ ผ่าน - ไม่ผ่าน กระบวนการประเมินผล เร้า เปลี่ยนแปลง วัด นับ ให้ค่า เปรียบ เทียบ ตีค่า ตัดสิน กระบวนการวัดผล
. -ความสาคัญของการประเมินผล ต่อกระบวนการทางการศึกษา จุดมุ่งหมายการศึกษา - ปรัชญาการศึกษา - หลักสูตร - จุดหมายหลักสูตร - จุดมุ่งหมายรายวิชา - จุดมุ่งหมายการเรียนรู้ พฤติกรรมพื้นฐานผู้เรียน ประเมินก่อนเรียน กระตุ้น – เร้า --ความพร้อม การเรียนการสอน ประเมิน ระหว่างเรียน ปรับปรุง การวัดผล ประเมินผล ประเมิน หลังเรียน ตัดสินผล การสะท้อนกลับ Feed back
. -ประเภทของการประเมินผล 2. การประเมินผลแบบอิงกลุ่ม 1. การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ ผลการวัด เทียบ เกณฑ์ มาตรฐาน ตัดสิน มีคุณภาพเท่าไร อย่างไร ผ่าน / ไม่ผ่าน ผลการวัด เทียบ ความสามารถ ในกลุ่ม ตัดสิน เก่ง/อ่อน ลาดับในกลุ่ม
-ขั้นตอนการประเมินผล • การประเมินก่อนเรียน (Pre-evaluation) • การประเมินระหว่างเรียน (Formative evaluation) • การประเมินหลังเรียน (Summative evaluation)
การประเมินผลก่อนเรียน (Pre-evaluation) - ตรวจสอบความรู้ ทักษะพื้นฐาน - วางแผนการสอน เนื้อหา วิธีสอน - กระตุ้นเร้าให้ตื่นตัว - เปรียบเทียบพัฒนาการก่อน-หลัง
 -การประเมินผลระหว่างเรียน (Formative evaluation) - บรรลุจุดประสงค์เนื้อหาที่สอนหรือไม่ - กระตุ้น เร้า จูงใจ สนใจ เอาใจใส่ - ปรับปรุงซ่อมเสริมข้อบกพร่องของผู้เรียน - ปรับปรุงการสอน
 -การประเมินผลหลังเรียน (Summative evaluation) - ทราบความสามารถของผู้เรียน - ความสาเร็จในการเรียน - ความสามารถโดยรวม - ปรับปรุงแก้ไขการเรียนการสอน - ตัดสินผลการเรียน - เลื่อนระดับ - ซ่อมเสริม ปรับปรุงแก้ไข
 -การประเมินผลการจัดการเรียนรู้แนวใหม่ กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้แนวใหม่ควร สอดคล้องกับธรรมชาติของการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ แนวทางประเมินการเรียนรู้ 1. การประเมินตามสภาพจริง (authentic assessment)  การประเมินการปฏิบัติ (performance assessment) 3. การใช้แฟ้ มสะสมผลงาน (portfolio) 4. การประเมินโดยใช้ศูนย์การประเมิน (assessment centers)
-การประเมินตามสภาพจริง (authentic assessment) เป็ นวิธีการประเมินผลความสามารถทางด้านต่างๆของ ผู้เรียน โดยมุ่งประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติจริงมากกว่าประเมินจาก ผลการทดสอบด้านข้อสอบแบบเลือกตอบ เกณฑ์การประเมินตามสภาพจริง ต้องมีผลสัมพันธ์กับ พฤติกรรมและการปฏิบัติจริงในชีวิตประจาวันของผู้เรียน
. -ลักษณะสาคัญของการประเมินจากสภาพจริง • เป็นการประเมินที่กระทาไปพร้อมๆกับการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน ซึ่งสามารถทาได้ตลอดเวลา ทุกสถานการณ์ทั้งที่โรงเรียน บ้าน และชุมชน • เน้นพฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียนที่แสดงออกมาจริงๆ • ให้ความสาคัญกับการพัฒนาจุดเด่นของผู้เรียน • เน้นการประเมินตนเองและอยู่บนพื้นฐานของสถานการณ์ที่เป็ น ชีวิตจริง • ใช้ข้อมูลที่หลากหลาย มีการเก็บข้อมูลระหว่างการปฏิบัติในทุกด้าน ทั้งโรงเรียน บ้าน และชุมชนอย่างต่อเนื่อง
-การประเมินการปฏิบัติงาน (performance assessment) เป็ นการทดสอบความสามารถในการทางานของผู้เรียน ภายใต้สถานการณ์และเงื่อนไขที่สอดคล้องกับสภาพจริงมากที่สุด เกณฑ์การประเมินมี 3 ลักษณะคือ ประเมินกระบวนการ ประเมินผลผลิตและประเมินทั้งกระบวนการและผลผลิต ลักษณะสาคัญคือ 1. มีการกาหนดวัตถุประสงค์ของการวัดไว้อย่างชัดเจน 2. มีการกาหนดวิธีทางาน มีคาสั่งควบคุมสถานการณ์ในการ ปฏิบัติงาน 3. มีเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจน และมีการประเมินพฤติกรรม ขั้นสุดท้ายของการปฏิบัติงาน
22. วิธีการประเมินการปฏิบัติงาน • การสืบค้น (inquiry) : เป็นการถามผู้เรียนโดยตรง เกี่ยวกับความรู้สึกที่มี ต่อตนเองต่อการปฏิบัติงานต่าง ๆ รวมถึงการประเมินความสาเร็จของตน • การสังเกต (observation) : เป็นการสังเกตผู้เรียนขณะที่เรียนและใน กิจกรรมต่าง ๆ รวมถึงการตอบคาถาม ผู้สอนควรสังเกตอย่างสม่าเสมอ โดย ไม่ให้ผู้เรียนรู้สึกตัว เพื่อให้ได้ข้อมูลที่แสดงภาพการปฏิบัติงานที่แท้จริง • การวิเคราะห์ (analysis) : เป็นการวิเคราะห์การปฏิบัติของผู้เรียนแต่ละ คน เพื่อหาว่างานส่วนใดที่ทาได้ดี และส่วนใดที่ควรปรับปรุงผู้สอนอาจ วิเคราะห์ขณะที่ผู้เรียนเข้าร่วมปฏิบัติงาน หรือเมื่อทางานเสร็จแล้วก็ได้ • การทดสอบ (testing) : เป็นการวัดการปฏิบัติของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ เพื่อตัดสินระดับความสาเร็จในการเรียนรู้หรือกระบวนการที่กาหนด แบบทดสอบอาจใช้วัดความสามารถในการเรียนรู้ระดับทักษะที่ได้จากการ ปฏิบัติ
23. เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติ เครื่องมือสาคัญที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการประเมินผลการปฏิบัติ ของผู้เรียน เรียกว่า รูบริค (rubric) เป็ นเกณฑ์ที่สร้างขึ้นเพื่อ พิจารณาลักษณะของสิ่งสาคัญ โดยจะต้องกาหนดมาตรวัดและ รายการคุณลักษณะที่บรรยายถึงความสามารถในการแสดงออกของ ผู้เรียนในแต่ละระดับ ข้อมูลจากรูบริค จะสะท้อนให้ผู้สอนและ ผู้เกี่ยวข้องทราบว่า ผู้เรียนเรียนรู้อะไรมาบ้าง ทาอะไรได้มากน้อย เพียงใด นับว่าเป็นสิ่งสาคัญในการทดสอบภาคปฏิบัติ เกณฑ์การประเมินมี 2 ประเภท - การประเมินเป็นภาพรวม (holistic rubric) - การประเมินให้คะแนนแยกองค์ประกอบ (analytic rubric)
24. 3. การใช้แฟ้ มสะสมผลงาน (portfolio) เป็นเครื่องมือที่สะท้อนงานที่ลงมือปฏิบัติตรงตามสภาพ จริงได้เหมาะสาหรับการประเมินระดับห้องเรียนที่รวบรวมงาน ต่างๆที่ผู้เรียนทาทุกอย่าง แฟ้ มสะสมงานอาจมีตัวอย่างชิ้นงานที่ทาในแต่ละขั้นตอน หรือคาอธิบายกระบวนการในการทางานแต่ละขั้นตอน การใช้แฟ้ ม สะสมงานเป็นการรวบรวมการทางานของผู้เรียนอย่างมีเป้ าหมาย ซึ่งแสดงถึงความก้าวหน้าและความสาเร็จของผู้เรียน แฟ้ มสะสมงานเป็ นการบันทึกพัฒนาการของผู้เรียน รวมถึงความสามารถในการทางานร่วมกับคนอื่นๆ และยังเป็นการ สนับสนุนการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตลอดจนทาให้ผู้เรียนทราบข้อดี และข้อบกพร่องของตนเอง
25. 4. การประเมินโดยใช้ศูนย์การประเมิน(assessment centers) เป็ นกระบวนการตัดสินความรู้ ความสามารถ และทักษะ ต่างๆของผู้เรียนอย่างรอบด้าน โดยใช้ตัวอย่างงานหลายๆลักษณะที่ สอดคล้องกับงานจริง สร้างเป็ นสถานการณ์จาลอง หรือสิ่งเร้าที่ ผู้เรียนตอบสนอง มีการแสดงออกของพฤติกรรมตามพฤติกรรมบ่งชี้ โดยเครื่องมือที่สามารถนามาใช้สาหรับการวัดในแต่ละสถานีของศูนย์ ประเมิน ได้แก่ แบบตรวจสอบรายการ แบบวัดมาตราส่วนประเมินค่า แบบบันทึกพฤติกรรม แบบประเมินผลงาน และแบบทดสอบ เป็นต้น
26. ประโยชน์ของการประเมิน •ผู้เรียน •ทราบความสามารถ ความถนัด เลือกเรียน อาชีพ •ผู้สอน •ทราบคุณภาพ ผลการสอน ปรับปรุงพัฒนา วิจัยการสอน •ผู้บริหาร •วางแผนแก้ไขพัฒนา วิจัยสถานศึกษา •ผู้ปกครอง •ส่งเสริม สนับสนุน ผู้เรียน
27. กิจกรรม • เลือกเนื้อหาวิชาในกลุ่มสาระ ที่ตรงกับสาขาวิชาคนละ 1 เรื่อง • วางแผนการประเมินให้เหมาะสมตลอดการสอนเนื้อหาดังกล่าว • กาหนดวิธีการ เครื่องมือ วัดประเมินผล • กาหนดสัดส่วนและเกณฑ์การประเมินให้เหมาะสม
28. ตัวอย่าง • ให้นักเรียนชั้น ป.6 อ่านการ์ตูนประกอบเรื่องสั้น เรื่อง จริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์ • ตัวชี้วัด ตอบคาถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน การวัดประเมินผล วิธีการ เครื่องมือที่ใช้วัด เกณฑ์การประเมินผล ผ่าน/ไม่ผ่าน ให้ตอบปากเปล่า แบบทดสอบ ตอบได้ถูกต้องตรงกับเรื่องที่อ่าน (แบบถามตอบ 5ข้อ) 3 ใน 5 คาถาม
29. สรุป การประเมินจะต้องใช้ดุลยพินิจด้วย ความรอบคอบก่อนตัดสินใจ จะต้องประเมินด้วย ความเที่ยงธรรมและมีคุณธรรมเป็นอย่างสูง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น